SKU :
ยาจีนสำหรับแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ฟกช้ำดำเขียว แก้เหน็บชา
จำนวน
หมวดหมู่ : สินค้าทั้งหมด ,  ยาสมุนไพรจีนและไทยสำเร็จรูป ,  ยาแผนโบราณแบบเม็ด , 
เซียวหัวลั่วตัน เซียวอัวะหลกตัง 小活络丹 Xiao Huo Luo Dan
ยาจีนสำหรับแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ฟกช้ำดำเขียว แก้เหน็บชา ยาแผนโบราณ ทะเบียนเลขที่ K30/29
สรรพคุณ:
แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ฟกช้ำดำเขียวเนื่องจากหกล้ม ถูกตี
แก้เหน็บชา มือเท้าชา ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก
Indications:
Activating blood circulation, dispelling dampness and alleviation pains.
Used for arthralgia due to wind, cold and dampness.
Sore extremities, numbness and stiffness in limbs.
วิธีรับประทาน:
สำหรับผู้ใหญ่ครั้งละ 6 เม็ด ดื่มกับน้ำอุ่นหรือเหล้าโรงผสมน้ำก็ได้
Directions & Dosage:
6 pills once, once daily for oral.
ข้อควรระวัง:
ไม่เหมาะสำหรับหญิงตั้งครรภ์
Caution:
Prohibitive for pregnant women.
ขนาดบรรจุ: ขวดละ 200 เม็ด หนักเม็ดละ 0.19 กรัม
ราคา:
1 กล่อง = 153 บาท
พิเศษ!!! สั่งซื้อ 6-11 กล่อง ราคาลดเหลือ กล่องละ 150 บาท
ค่าจัดส่ง:
*กรุงเทพ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ
+Flash 30 บาท
**ต่างจังหวัด
+Flash 40 บาท
***พื้นที่พิเศษ เช่น ยะลา ปัตตานี นราธิวาส เกาะพงัน เกาะลันตา เกาะสมุย ภูเก็ต เป็นต้น
+Flash 90 บาท
พิเศษ!!! สั่งซื้อ 12 กล่อง ราคาลดเหลือ กล่องละ 150 บาท
++++จัดส่งฟรี
จำหน่ายโดยร้านขายยาจีน แนะนำโดยเภสัชกรแผนไทย
จัดส่งเร็ว ทุกวันจันทร์-อาทิตย์
สนใจติดต่อสอบถาม ปรึกษา สั่งซื้อได้ที่
Line: @jiankangherbs (มี @ ด้วยนะคะ)
Line Shop: https://shop.line.me/@jiankangherbs
Facebook: https://www.facebook.com/jiankangherbalproducts
Website: https://www.jiankangherbshop.com
เสี่ยวหัวลั่วตัน 小活络丹 (Xiao Huo Luo Dan)
การออกฤทธิ์:
อุ่นเส้นลมปราณ เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ขจัดลมชื้น ขับเสมหะและเลือดคั่ง
สรรพคุณ:
รักษากลุ่มอาการของโรคที่เส้นลมปราณถูกลมชื้นอุดกั้น มีอาการชาตามแขนขาเรื้อรังเป็น
เวลานานไม่หาย หรือมีอาการปวดเส้นเอ็นและกระดูกตามแขนขา โดยตำแหน่งที่ปวดไม่แน่นอน
ส่วนประกอบ
川乌 (制) Radix Aconiti Praeparata ชวนอู (จื้อ)*
草乌 (制) Radix Aconiti Kusnezoffii Praeparata เฉ่าอู (จื้อ)*
天南星 (制) Rhizoma Arissaematis เทียนหนันซิง (จื้อ)
乳香 Resina Olibani หรูเซียง
没药 Myrrha ม่อเหย้า
地龙 Lumbricus ตี้หลง
Information credit: หนังสือ "ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย"